https://www.banggood.com/50X-LED-Illumination-Pen-Style-Pocket-Microscope-Magnifying-Glass-with-Reading-Scales-p-1137785.html?p=8Z020971524652016114

Metta Sutta - กรณียเมตตสูตร

Metta Sutta - กรณียเมตตสูตร - วัดทิพย์สุคนธาราม - พระพุทธรูปปางคนธารราฐ -ปางขอฝน

วัดทิพย์สุคนธาราม
พระพุทธเมตตาประชาไทยไตรโลกนาถคันธารราฐอนุสรณ์ ในพระบรมราชินูปถัมถ์ โดยพระพุทธรูปปางคันธารราฐหรือปางขอฝน มีพุทธลักษณะพระอิริยาบถยืนตรง ทรงผ้าวัสสิกสาฎก พระหัตถ์ขวายกขึ้นเสมอพระอุระ หรืออก พระหัตถ์ซ้ายหงายรองรับน้ำฝน ซึ่งจะจัดสร้างและประดิษฐานที่วัดทิพย์สุคนธาราม ต.ดอนแสลบ อ.ห้วยกระเจา จ.กาญจนบุรี ตามเจตนารมณ์ของสมเด็จพระมหาธีราจารย์ (นิยม ฐานิสฺสรมหาเถร ป.ธ.9) อดีตเจ้าอาวาสวัด ชนะสงคราม ที่มรณภาพไปแล้ว
https://www.touronthai.com/article/526

กรณียเมตตสูตร

กรณียเมตตสูตร เป็นหนึ่งในพระปริตร นิยมใช้สวดกัน เพื่อป้องกันภยันตรายทั้งหลาย มิให้มากร้ำกราย และเพื่อให้เกิดสวัสดิมงคล ซึ่งสอดคล้องกับเรื่องราวของที่มาพระสูตร ที่ปรากฏในอรรถกถา นอกจากนี้ ยังมีความเชื่อกันว่า พระสูตรนี้เป็นที่ยำเกรงของภูติผีปีศาจ และทำให้ผู้สวดสาธยายเป็นที่รักใคร่ในหมู่เทพยดาทั้งหลาย

อย่างไรก็ตาม การสาธยายพระสูตรนี้ ยังมีประโยชน์อย่างยิ่ง ในการเป็นบรรทัดฐานในการดำเนินชีวิต เนื่องจากเป็นพระสูตรที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสสอนถึงแนวทางการในการปฏิบัติให้เป็นที่รักใคร่ ให้เป็นผู้มีเสน่ห์ ด้วยการอ่อนน้อมถ่อมตน ตรวจสอบตนเองให้พ้นจากการกระทำชั่ว และเจริญเมตตาอยู่เป็นนิตย์ ซึ่งไม่เพียงยังความสงบแก่จิตใจของตนเองเท่านั้น แต่ยังความสงบสันติแก่สรรพสัตว์และสากลโลกอีกด้วย นับเป็นพระสูตรที่มีคุณประโยชน์มหาศาล...
ที่มา: https://th.wikipedia.org/wiki/กรณียเมตตสูตร



บทสวด กรณียเมตตสูตร

กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ        
ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ
สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ            
สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี
สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ
อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ
สันตินท๎ริโย จะ นิปะโก จะ
อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ
นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ
เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง
สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ          
สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ                
ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา
ทีฆา วา เย มะหันตา วา          
มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา
ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา        
เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร
ภูตา วา สัมภะเวสี วา              
สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ        
นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ
พ๎ยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา
นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ
มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง          
อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข
เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ                
มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
 เมตตัญจะ สัพพะโลกัส๎มิง
มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ        
อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง
ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา          
สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ        
พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ
ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ          
สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง              
นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ ฯ

ที่มา: http://www.watpitch.com/prayer-824.html

ฟังเสียงสวดกรณียเมตตสูตร จากเว็บไซต์วัดท่าซุง

http://www.watthasung.com/wat/viewthread.php?tid=827

================================
ในเว็บเมตตาโฮมเพจ
ได้นำข้อมูลจาก "หนังสือกฏแห่งกรรม ธรรมปฏิบัติ วัดอัมพวัน เล่มที่ 7 เรื่องพระภูมิ เจ้าที่"
ว่า หลวงพ่อจรัญกล่าวว่า เวลาขับรถให้ภาวนาพระคาถาบทนี้ ถ้าจะภาวนาเป็นหัวใจก็ภาวนาว่า “เมตตา คุณณัง อรหัง เมตตา” เพื่อช่วยป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุ หรือ ช่วยบรรเทาจากหนักให้กลายเป็นเบา
โดยมีวิธีการภาวนา ดังนี้
...

ตั้งนะโม 3 จบ

(แผ่เมตตาให้เทวดา)

เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง

ให้ภาวนาไปเรื่อยๆ ในขณะขับรถหรือเดินทางไกล

พระคาถาบทนี้มีพบเห็นอยู่ในหนังสือสวดมนต์ทั่วไป

มีหลายท่านต่างยืนยันมาว่าพระคาถาบทนี้ ภาวนาหรือสวดแล้วเห็นผลจริง เช่น สามารถป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุ หรือช่วยบรรเทาจากหนักให้กลายเป็นเบา

ที่มา: http://metharung-background.blogspot.com/2014/11/blog-post.html

=====================================
Background
In Theravāda Buddhism's Pali Canon, mettā is one of the four "divine abodes" (Pali: brahmavihāra) recommended for cultivating interpersonal harmony and meditative concentration (see, for instance, kammaṭṭhāna). In later canonical works (such as the Cariyāpiṭaka), mettā is one of ten "perfections" (pāramī) that facilitates the attainment of awakening (Bodhi) and is a prerequisite to attaining Buddhahood.


According to post-canonical Sutta Nipāta commentary, the background story for the Mettā Sutta is that a group of monks were frightened by the sprites in the forest where the Buddha had sent them to meditate. When the monks sought the Buddha's aid in dealing with the sprites, the Buddha taught the monks the Mettā Sutta as an antidote for their fear. The monks recited the sutta and felt better. Their good cheer then happened to quiet the sprites as well.

Karaniya matthakusalena                   

Yan tam santam padam abhisamecca

Sakko uju cha suju cha                       

Suvatho thassa mudu anatimani

Santussako va subharo va             

Appakicco va sallahukavuttisantindriyo va nipako va                     

Appagabbho kulesu ananugiddho

Na cha khuddam samachare Kiñ ci   

Yena viññuu pare upavadeyyum

Sukhino va khemino hontu                 

Sabbe sattaa bhavantu sukhitatta

Ye keci panabhut'atthi                         

Tasa va thavara va anavasesa

Digha va ye mahanta va                   

Majjhima rassaka anukathula

Dittha-va ye va adittha                       

Ye ca dure vasanti avidure

Bhuta va sambhavesi va                     

Sabbe satta bhavantu sukhitatta

Na paro param nikubbetha             

Natimaññetha kattha si nam kiñ sivyarosana patighasañña                   

Naññamaññassa dukkham iccheyya

Mata yatha niyam puttam                 

Ayusa ekaputtamanurakkhe

Evam pi sabbabhutesu                     

Manasam bhavaye aparimanam

Mettañ va sabbalokasmim               

Maanasam bhavaye aparimanam

Uddham adho cha tiriyañ va           

Sambadham averam asapattam

Tittham caram nisinno va               

Sayanova yavat'assa vigatamiddho

Etam satim adhittheyya                   

Brahmametam viharam idhamahu

Ditthiñ va anupagamma                     

Sila va dassanena sampanno

Kamesu vineyya gedham                   

Na hi jatu gabbhaseyyam punare ti ti

Source: https://en.wikipedia.org/wiki/Metta_Sutta
Previous
Next Post »